กระรอกผสมพันธุ์ฤดูไหน
กระรอกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่หน้าตาจิ้มลิ้มน่ารักบางคนก็เลี้ยงสัตว์ชนิดนี้เป็นเพื่อนคู่ใจพาไปไหนมาไหนด้วยเสมือนเพื่อนตัวน้อยตัวหนึ่งเพราะขนาดที่เล็กใส่กระเป๋าเสื้อยังได้ซึ่งนิสัยโดยทั่วไปของกระรอกคือซุกซนชอบให้เราเล่นด้วยหยอกเย้าด้วยซึ่งวิธีส่วนใหญ่ที่คนนิยมเล่นกับกระรอกก็คือให้กระรอกไต่บนเชือกหรือบนตัวเรากระรอกนั้นเป็นสัตว์ที่ต้องการความรักฉะนั้นเจ้าของต้องเอาใจใส่มีเวลาให้พอสมควรเลยมิฉะนั้นกระรอกจะเกิดอาการเศร้าซึมและตรอมใจได้นั่นเอง
ฤดูการผสมพันธุ์กระรอกนั้นจะเริ่มเมื่อกระรอกอายุได้ 4 เดือนถึง 2 ปี เรียกว่าเริ่มเป็นสัด ลักษณะการผสมพันธุ์ของสัตว์ชนิดนี้จะเป็นแบบ Polygynandruous หรือที่แปลว่าแบบหมู่ ตัวผู้หรือตัวเมียหลาย ๆ ตัวแต่จะมีกระรอกเพศตรงข้าม 1 ตัว ฤดูการผสมพันธุ์กระรอกตามธรรมชาติจะมีการแข่งขันเพื่อเรียกร้องความสนใจจากเพศตรงข้ามโดยใช่วิธีการส่งเสียงร้องออกมาซึ่งตัวผู้หลายๆคนก็จะมายืนล้อมรอบตัวเมียตัวเดียจากนั้นตัวเมียก็จะเลือกผู้ชนะและทำการผสมพันธุ์วางไข่ด้วยกระรอกเป็นสัตว์ที่ขี้เบื่อง่ายในเรื่องของคู่นอนฉะนั้นกระรอกตัวผู้และตัวเมีนจะมีการคบหากันซักระยะแล้วก็เปลี่ยนคู่ไปเรื่อยๆ
การดูแลกระรอกในช่วงฤดูผสมพันธุ์กระรอกต้องระมัดระวังในระดับนึง เนื่องจากสัตว์จะมีอารมณ์อ่อนไหวง่าย หงุดหงิดง่าย และดุร้ายกว่าช่วงปกติ หากใครที่ไม่รู้เกิดเอานิ้วมาแหย่เล่นด้วย รับรองว่ามีกัดเลือดสาด หากกระรอกที่เราเลี้ยงเกิดอาการติดสัตว์ต้องปล่อยให้มันอยู่ตามลำพังซัก 2 อาทิตย์พยายามไม่ต้องยุ่งด้วยหลังจากนั้นกระรอกจะกลับมาอารมณ์ร่าเริงดังเดิม
อาหารส่วนใหญ่ที่สัตว์ชนิดนี้กินก็คือใบไม้ผลไม้เมล็ดพืชโคนต้นส้นแมลงและผลไม้เปลือกแข็งเช่นวอลนัทกระรอกค่อนข้างขยันในเรื่องหาอาหารฉะนั้นส่วนใหญ่ก็จะหามาตุนไว้เยอะๆเก็บไว้บนกิ่งไว้ทำให้มีกินตลอดไม่ว่าจะฤดูกาลอะไรอีกทั้งการปรับตัวตามสภาพอากาศยังดีเยี่ยมเรียกได้ว่าเป็นสัตว์ที่เอาตัวรอกเก่งพอสมควรเลยทีเดียว
อายุขัยของกระรอกถือว่าเยอะเพราะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ถึง 17 ปี บางสายพันธุ์ยาวนานถึง 21 ปี นานมากหากเทียบกับสัตว์เลี้ยงชนิดอื่น ๆ หากกระรอกอาศัยอยู่ตามชาติจะมีศัตรูตัวฉกาจที่กินเนื้อ เช่น แมวป่า เหยี่ยว อีเห็น ชะมัด พังพอน บ่อยครั้งที่กระรอกสร้างความน่ารำคาญแก่เกษตรกรเนื่องจากชอบมากัดผัก ผลไม้ กระรอกสามารถพบได้ทั่วไปในบริเวณพื้นที่ป่าเขตอบอุ่น ในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกที และจะพบมากที่สุดที่ภาคใต้ และพบได้น้อยที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ